วันพฤหัสบดีที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2553

ความรัก.....

รักคือรักจาก...ใจ
...ใช่คำพูด...
รักคือการพิสูจน์
...ที่มีค่า...
รักคือความศัทธา
...ที่มั่นคง...

วันพุธที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2553

คำสั่ง HDR Toning

เป็นคำสั่งที่เพิ่มเข้ามาใน Photoshop cs5 เป็นคำที่สามารถปรับภาพได้หลากหลายรูปแบบ ในคำสั่งเดียว

ยกตัวอย่างการปรับแสง

1 ไปที่ File > Open แล้วก็เลือกภาพที่ต้องปรับแสง










2 ไปที่ Image > Adjustemnte > HDR Toning












3 ปรับภาพตามความต้อง






















รูปที่ปรับแสงแล้ว










วันอังคารที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2553


โปรแกรมตัดเกรด

$grads=$_POST["grads"];
echo "เกรดของคุณ = " .$grads;
?>




คำนวณเกรด




กรอกคะแนน :



$grads=$_POST['grads'];
if($grads>=84&& $grads<=100)
{print "คุณได้เกรด A คะแนนรวม = " .$grads;}
elseif($grads>=80&& $grads<84)
{print "คุณได้เกรด A- คะแนนรวม = " .$grads;}
elseif($grads>=76&& $grads<80)
{print "คุณได้เกรด B+ คะแนนรวม = " .$grads;}
elseif($grads>=72&& $grads<76)
{print "คุณได้เกรด B คะแนนรวม = " .$grads;}
elseif($grads>=68&& $grads<72)
{print "คุณได้เกรด B- คะแนนรวม = " .$grads;}
elseif($grads>=64&& $grads<68)
{print "คุณได้เกรด C+ คะแนนรวม = " .$grads;}
elseif($grads>=60&& $grads<64)
{print "คุณได้เกรด C คะแนนรวม = " .$grads;}
elseif($grads>=56&& $grads<60)
{print "คุณได้เกรด C- คะแนนรวม = " .$grads;}
elseif($grads>=52&& $grads<56)
{print "คุณได้เกรด D+ คะแนนรวม = " .$grads;}
elseif($grads>=48&& $grads<52)
{print "คุณได้เกรด D คะแนนรวม = " .$grads;}
elseif($grads>=45&& $grads<48)
{print "คุณได้เกรด D- คะแนนรวม = " .$grads;}
elseif($grads>=0&& $grads<45)
{print "คุณได้เกรด F คะแนนรวม = " .$grads;}
else
{print "คุณกรอกคะแนนผิดพลาด";}
?>


วันอังคารที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

คำศัพท์ชนิดการเก็บงาน
VARCHAR (ย่อมาจาก Variable Character Field อ่านว่า วาร์คาร์ หรือ วาร์ชาร์) หมายถึงกลุ่ม
ข้อมูลตัวอักขระที่ไม่สามารถระบุความยาวได้ คำนี้มักใช้เป็นชนิดข้อมูลในระบบจัดการฐานข้อมูล ชนิดข้อมูลประเภท varchar สามารถเก็บข้อมูลตัวอักขระขนาดเท่าใดก็ได้ที่ไม่เกินความยาวที่จำกัดไว้ การจำกัดความยาวก็แตกต่างกันออกไปในแต่ละฐานข้อมูล

TINYINT : สำหรับเก็บข้อมูลชนิดตัวเลขที่มีขนาด 8 บิต ข้อมูลประเภทนี้เราสามารถกำหนดเพิ่มเติมในส่วนของ "แอตทริบิวต์" ได้ว่าจะเลือกเป็น

TEXT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่สามารถเก็บได้มากขึ้น โดยสูงสุดคือ 65,535 ตัวอักษร หรือ 64KB เหมาะสำหรับเก็บข้อมูลพวกเนื้อหาต่างๆ ที่ยาวๆ

DATE : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ โดยเก็บได้จาก 1 มกราคม ค.ศ. 1000 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 9999 โดยจะแสดงผลในรูปแบบ YYYY-MM-DD

SMALLINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 16 บิต จึงสามารถเก็บค่าได้ตั้งแต่ -32768 ถึง 32767 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 65535 (ในกรณี UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ
UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT

MEDIUMINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 24 บิต นั่นก็หมายความว่าสามารถเก็บข้อมูลตัวเลขได้ตั้งแต่ -8388608 ไปจนถึง 8388607 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 16777215 (ในกรณีที่เป็น UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT

INT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 32 บิต หรือสามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ -2147483648 ไปจนถึง 2147483647 ครับ (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 4294967295 (ในกรณีที่เป็น UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ

TINYINTBIGINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 64 บิต สามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ -9223372036854775808 ไปจนถึง 9223372036854775807 เลยทีเดียว (แบบคิดเครื่องหมาย)

FLOAT[(M,D)] : ที่กล่าวถึงไปทั้งหมด ในตระกูล INT นั้นจะเป็นเลขจำนวนเต็ม หากเราบันทึกข้อมูลที่มีเศษทศนิยม มันจะถูกปัดทันที ดังนั้นหากต้องการจะเก็บค่าที่เป็นเลขทศนิยม ต้องเลือกชนิดขอฟิลด์เป็น FLOAT โดยจะเก็บข้อมูลแบบ 32 บิต

DOUBLE[(M,D)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม เช่นเดียวกับ FLOAT แต่มีขนาดเป็น 64 บิต สามารถเก็บได้ตั้งแต่ -1.7976931348623157E+308 ถึง -2.2250738585072014E-308, 0 และ 2.2250738585072014E-308 ถึง 1.7976931348623157E+308

DECIMAL[(M,D)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม เช่นเดียวกับ FLOAT แต่ใช้กับข้อมูลที่ต้องการความละเอียดและถูกต้องของข้อมูลสูง

DATETIME : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ และเวลา โดยจะเก็บได้ตั้งแต่ 1 มกราคม ค.ศ. 1000 เวลา 00:00:00 ไปจนถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 9999 เวลา 23:59:59 โดยรูปแบบการแสดงผล เวลาที่ทำการสืบค้น (query) ออกมา จะเป็น YYYY-MM-DD HH:MM:SS

TIMESTAMP[(M)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ และเวลาเช่นกัน แต่จะเก็บในรูปแบบของ YYYYMMDDHHMMSS หรือ YYMMDDHHMMSS หรือ YYYYMMDD หรือ YYMMDD แล้วแต่ว่าจะระบุค่า M เป็น 14, 12, 8

TIME : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทเวลา มีค่าได้ตั้งแต่ -838:59:59 ไปจนถึง 838:59:59 โดยจะแสดงผลออกมาในรูปแบบ HH:MM:SS

YEAR[(2/4)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทปี ในรูปแบบ YYYY หรือ YY แล้วแต่ว่าจะเลือก 2 หรือ 4 (หากไม่ระบุ จะถือว่าเป็น 4 หลัก) โดยหากเลือกเป็น 4 หลัก จะเก็บค่าได้ตั้งแต่ ค.ศ. 1901 ถึง 2155 แต่หากเป็น 2 หลัก จะเก็บตั้งแต่ ค.ศ. 1970 ถึง 2069

CHAR : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร แบบที่ถูกจำกัดความกว้างเอาไว้คือ 255 ตัวอักษร ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้เหมือนกับ VARCHAR หากทำการสืบค้นโดยเรียงตามลำดับ

TINYBLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี ได้แก่ ไฟล์ข้อมูลต่างๆ, ไฟล์รูปภาพ, ไฟล์มัลติมีเดีย เป็นต้น คือไฟล์อะไรก็ตามที่อัพโหลดผ่านฟอร์มอัพโหลดไฟล์ในภาษา HTML โดย TINYBLOB นั้นจะมีเนื้อที่ให้เก็บข้อมูลได้ 256 ไบต์

TINYTEXT : ในกรณีที่ข้อความยาวๆ หรือต้องการที่จะค้นหาข้อความ โดยอาศัยฟีเจอร์ FULL TEXT SEARCH ของ MySQL เราอาจจะเลือกที่จะไม่เก็บข้อมูลลงในฟิลด์ประเภท VARCHAR ที่มีข้อจำกัดแค่ 256 ตัวอักษร แต่เราจะเก็บลงฟิลด์ประเภท TEXT แทน โดย TINYTEXT นี้ จะสามารถเก็บข้อมูลได้ 256 ตัวอักษร

BLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่สามารถเก็บข้อมูลได้ 64KBMEDIUM
BLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่เก็บข้อมูลได้ 16MB

MEDIUMTEXT : เก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่เก็บข้อมูลได้ 16,777,215 ตัวอักษร

LONGBLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่เก็บข้อมูลได้ 4GB

LONGTEXT : เก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่เก็บข้อมูลได้ 4,294,967,295 ตัวอักษร

SET : สำหรับเก็บข้อมูลที่เป็นกลุ่มของข้อมูลที่ยอมให้เลือกได้ 1 ค่าหรือหลายๆ ค่า ซึ่งสามารถกำหนดได้ถึง 64 ค่า

ENUM(Enumeration) >> หมายถึงเซตของข้อมูลชุดหนึ่งที่มีจำนวนสมาชิกที่กำหนดไว้แน่นอนและทราบค่าทุกตัว ซึ่งมักจะเป็นข้อมูลที่มีลักษณะคงที่

BINARY
ระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 (ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง) บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา เป็นต้น

BOOL คือข้อมูลที่มีค่าเป็นจริง (True) หรือเท็จ (False)

VARBINARY คือ มีลักษณะการเก็บคล้าย Varcha คือการเก็บข้อมูลตามที่รับมาจริงเท่านั้น มีขนาดสูงสุดมากถึง 8000 ไบต์

วันพุธที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2552

ขั้นตอนการติดตั้ง appserv-win32.2.5.9

ดาวน์โหลด appserv-win32.2.5.9 จากเว็บไซต์ http://kitt.kvc.ac.th
ดับเบิ้ลคลิกไฟล์ appserv-win32-2.5.9 เพื่อทำการติดตั้ง
เข้าสู่ขั้นตอนเงื่อนไขการใช้งานโปรแกรม โดยโปรแกรม AppServ ได้แจกจ่ายในรูปแบบ GNU License หากผู้ติดตั้ง อ่านเงื่อนไขต่างๆ เสร็จสิ้นแล้ว หากยอมรับเงื่อนไขให้กด Next เพื่อเข้าสู่การติดตั้งในขั้นต่อไป แต่หากว่าไม่ยอมรับเงื่อนไข ให้กด Cancel เพื่อออกจากการติดตั้งโปรแกรม AppServ
เข้าสู่ขั้นตอนการเลือกปลายทางที่ต้องการติดตั้ง โดยค่าเริ่มต้นปลายทางที่ติดตั้งจะเป็น C:AppServ
หากต้องการเปลี่ยนปลายทางที่ติดตั้ง ให้กด Browse แล้วเลือกปลายทางที่ต้องการ ตามรูปที่ 3 เมื่อเลือกปลายทางเสร็จสิ้น ให้กดปุ่ม Next เพื่อเข้าสู่ขั้นตอนการติดตั้งขั้นต่อไป
เลือก Package Components ที่ต้องการติดตั้ง โดยค่าเริ่มต้นนั้นจะให้เลือกลงทุก Package แต่หากว่าผู้ใช้งาน ต้องการเลือกลงเฉพาะบาง Package ก็สามารถเลือกตามข้อที่ต้องการออก โดยรายละเอียดแต่ละ Package มีดังนี้
- Apache HTTP Server คือ โปรแกรมที่ทำหน้าเป็น Web Server
- MySQL Database คือ โปรแกรมที่ทำหน้าเป็น Database Server
- PHP Hypertext Preprocessor คือ โปรแกรมที่ทำหน้าประมวลผลการทำงานของภาษา PHP
- phpMyAdmin คือ โปรแกรมที่ใช้ในการบริหารจัดการฐานข้อมูล MySQL ผ่านเว็บไซต์
เมื่อทำการเลือก Package ตามรูปที่ 4 เรียบร้อยแล้ว ให้กด Next เพื่อเข้าสู่ขั้นตอนการติดตั้งต่อไป
กำหนดค่าคอนฟิกของ Apache Web Server มีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 3 ส่วน คือ Server Name คือช่องสำหรับป้อนข้อมูลชื่อ Web Server ของท่านเช่น www.appservnetwork.com Admin Email คือช่องสำหรับป้อนข้อมูล อีเมล์ผู้ดูแลระบบ เช่น root@appservnetwork.com HTTP Port คือช่องสำหรับระบุ Port ที่จะเรียกใช้งาน Apache Web Server โดยทั่วไปแล้ว Protocol HTTP นั้นจะมีค่าหลักคือ 80 หากว่าท่านต้องการหลีกเลี่ยงการใช้ Port 80 ก็สามารถแก้ไขได้ หากมีการเปลี่ยนแปลง Port การเข้าใช้งาน Web Server แล้ว ทุกครั้งที่เรียกใช้งานเว็บไซต์ จำเป็นที่ต้องระบุหมายเลข Port ด้วย
กำหนดค่าคอนฟิกของ MySQL Database มีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 3 ส่วน ตามรูปที่ 6 คือ Root Password คือช่องสำหรับป้อน รหัสผ่านการเข้าใช้งานฐานข้อมูลของ Root หรือผู้ดูแลระบบ ทุกครั้งที่เข้าใช้งานฐานข้อมูลในลักษณะที่เป็นผู้ดูแลระบบ ให้ระบุ user คือ root Character Sets ใช้ในการกำหนดค่าระบบภาษาที่ใช้ในการจัดเก็บฐานข้อมูล, เรียงลำดับฐานข้อมูล, Import ฐานข้อมูล, Export ฐานข้อมูล, ติดต่อฐานข้อมูล
สิ้นสุดขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม AppServ สำหรับขั้นตอนสุดท้ายนี้จะมีให้เลือกว่าต้องการสั่งให้มีการรัน Apache และ MySQL ทันทีหรือไม่ จากนั้นกดปุ่ม Finish เพื่อเสร็จสิ้นการติดตั้งโปรแกรม AppServ

วันจันทร์ที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2552

Vocaburaly
1. Database ชุดของข้อมูลที่รวมเอาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันเป็นเรื่องราวเดียวกันรวมกันเป็นกลุ่มหรือเป็นชุดข้อมูล
2. DBMS (data base management system) ซอฟต์แวร์ที่ใช้จัดการฐานข้อมูล ช่วยในการสร้างข้อมูล เพิ่มข้อมูล ลบข้อมูล เรียกใช้ข้อมูล
3. Database Administrators : DBAs บุคลากรที่ทำหน้าที่บริการและควบคุมการบริหารงานของระบบฐานข้อมูล ทั้งหมดเป็นผู้ตัดสินใจว่าจะรวบรวมข้อมูลอะไรเข้าในระบบ จัดเก็บโดยวิธีใด เทคนิคการเรียกใช้ข้อมูล
4. Database Developmentโปรแกรมสำเร็จรูปจัดการฐานข้อมูล เช่น Microsoft Access หรือ Lotus Approach อนุญาตให้ผู้ใช้พัฒนาฐานข้อมูลตามที่ต้องการได้โดยง่าย อย่างไรก็ตามระบบผู้รับบริการและผู้ให้บริการ
5. Data Definition Language : DDL เป็นภาษาที่ใช้กำหนดโครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูลของฐานข้อมูล (Database Schema) ซึ่งโครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูลสามารถเรียกได้อีกอย่างว่า สกีมา (Schema)
6. Data Interrogationความสามารถในการสืบค้นฐานข้อมูลเป็นผลประโยชน์หลักของระบบจัดการฐานข้อมูล ผู้ใช้สามารถใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลสำหรับการขอสารสนเทศจากฐานข้อมูล โดยการใช้ภาษาสอบถาม
7. Graphical and Natural Queriesผู้ใช้ ( และผู้เชี่ยวชาญสารสนเทศ) หลายรายลำบากที่จะแก้ไขวลีของ SQL และคำถามภาษาฐานข้อมูลอื่นๆ ดังนั้นโปรแกรมสำเร็จรูปฐานข้อมูลส่วนใหญ่จึงเสนอวิธีการชี้และคลิกส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Graphical User Interface : GUI) ซึ่งง่ายต่อการใช้และใช้ซอฟต์แวร์
8. Application Developmentโปรแกรมสำเร็จรูประบบจัดการฐานข้อมูลมีบทบาทหลักในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์สามารถใช้ภาษาโปรแกรมยุคที่สี่ (4GL Programming Language) และสร้างเครื่องมือพัฒนาซอฟต์แวร์จากโปรแกรมสำเร็จรูประบบจัดการฐานข้อมูล
9 .Data Manipulation Language : DML เป็นภาษาที่ใช้กำหนดโครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูลของฐานข้อมูล (Database Schema) ซึ่งโครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูลสามารถเรียกได้อีกอย่างว่า สกีมา
10. Subject Area Database : SADB ฐานข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง
11. Analytical Databaseเก็บข้อมูลและสารสนเทศที่ดึงมาจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการและฐานข้อมูลภายนอก ประกอบด้วยข้อมูลสรุปและสารสนเทศที่จำเป็นต่อผู้จัดการองค์กรและผู้ใช้
12. Multidimensional Database ให้การสนับสนุนสำหรับฐานข้อมูลขนาดใหญ่มาก
13. Data Warehouses เก็บข้อมูลปัจจุบันและปีก่อนๆ โดยดึงจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการต่างๆ ขององค์กร เป็นแหล่งข้อมูลส่วนกลางที่ได้ถูกคัดเลือก แก้ไข จัดมาตรฐาน และรวบรวมเพื่อใช้สำหรับการวิเคราะห์ธุรกิจ การวิจัยตลาด และสนับสนุนการตัดสินใจ คลังข้อมูลอาจแบ่งออกเป็นตลาดข้อมูล
14. Distributed Databasesการกระจายสำเนา (Copies) หรือบางส่วนของฐานข้อมูลไปยังแม่ข่ายเครือข่ายหลายๆ สถานที่ ฐานข้อมูลแบบกระจายนี้สามารถติดตั้งอยู่บนเครื่องแม่ข่ายเครือข่าย World Wide Web บนอินทราเน็ตขององค์กร หรือเอ็กซ์ทราเน็ต ฐานข้อมูลแบบกระจายอาจจะสำเนาจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการหรือฐานข้อมูลเชิงวิเคราะห์
15. End User Databasesประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลต่างๆ ที่พัฒนาโดยผู้ใช้ที่สถานีปลายทาง เช่น ผู้ใช้อาจจะมีเอกสารอิเล็กทรอนิกส์หลายๆ สำเนาที่ได้ดาวน์โหลดจาก World Wide Web จากโปรแกรมสำเร็จรูปประมวลผลคำ หรือรับจากไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
16. Field) เป็นหน่วยข้อมูลที่ประกอบมาจากอักขระต่าง ๆ หลายอักขฟระ เช่น ชื่อ ที่อยู่ ที่ประกอบด้วยอักขระหลาย ๆ ตัว เป็นต้น
17. Record) จะเป็นการนำฟิลด์หลาย ๆ ฟิลด์มาร่วมกัน เช่น เรคอร์ดลฟูกค้า ก็จะเก็บฟิลด์ข้อมูลของลูกค้าทั้งหมดที่ประกอบด้วยชื่อ ที่อยู่ หรือ หมายเลขโทรศัพท์ เป็นต้น
18. Table) จะเป็นการนำเรคอร์ดหลาย ๆ เรคอร์ดมารวมกัน เช่น ตารางลูกค้า จะประกอบด้วยเรอร์ดของลูกค้าที่เป็นลูกค้าแต่ละราย
19. Entity) เป็นคำที่อ้างอิงถึง บุคคล สถานที่ และสิ่งของต่าง ๆ เช่น สินค้า ใบสั่งซื้อ และลูกค้า เป็นต้น ถ้าเราสนใจในการสร้างระบบฐานข้อมูลการสั่งซื้อสินค้า เอนทิตี้ของระบบ นี้จะประกอบด้วย เอนทิตี้ลูกค้า ใบสั่งซื้อสินค้า และสินค้า
20. InfraStucture Management คือการจัดทำระบบการบริหารงานคุณภาพ โครงสร้างพื้นฐาน การควบคุมคุณภาพ

วันอังคารที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2552

1. access แอตเซส โปรมมอกรมใช้งานด้านฐานข้อมูล
2. controller เคินทโรเลอะ ผู้ควบคุมเครื่องมืออัตโนมัต
3. becomes บิคัม กลายเป็น
4. ringht ไรท ข้างขวา
5. problem พราบเลิม ปัญหา , อุปสรรค์
6. bucket บังคิม ถัง
7.static ซแตทิค ไฟฟ้าสถิต
8. expensive อิคชเป็นชิฟว มีราคาสูง
9. package แพคิจ หีบห่อ
10 board โบร ไม้กระดาษ
11. dynamic ไดนามิค เป็นพลังงานหรือแรงที่ก่อให้เกิดการเคลื่อนที่
12. between เพอะทวีน อยู่ระหว่าง, คั่น
13. rate เรท ตำหนิ , ด่าว่า
14. cache แคณ สิ่งที่ชุกซ่อน
15. original เอะริเจินนอ แรกเริ่ม
16. a bout อะเบ้าท เวลาหนึ่ง
17. staying ซเตริงเพราะเออะ ความสามรถในการอดทน
18. need นีด ต้องการ
19. graphics กแรฟิคช วิธีการทำผังหรือการพิมพ์เขียว
20. Instatt อินสตอ ติดตั้ง
21. Random แรนดอม การวางแผน
22. ypgrade อัพเกรด ยกระดับ
23. system ซิเตม ระบบ
24. bist บิท หน่วยความจำคอมพิวเตอร์
25 running รันนิ่ง วิ่ง
26. data ดาต้า ข้อมูล
27. order ออเดะ ระเบียบการ
28. chip ชิป ตัดออก
29. battery แบตเตอรี่ แบต
30. before บีฟอ ก่อน
31. charge ซารด สั่งการ
32. notebook โน๊ตบุค สมุด
33. idea ไอเดีย ความคิด
34. application แอฟฟิเคชั่น สมัค
35. per พาย อาสัย
36. least ลาชส น้อนที่สุด
37. read รีส อ่าน
38. memory เมมโมรีส หน่วยความจำ
39. know โน รู้
40 work เวอค งาน
41. speed สปีด ความเร็ว
42. easy อีซี ง่าย
43. parity แพริตี เท่าเทียม
44.Introduction อินทเรอะดัคเณิน การแนะนำ
45. Cassette เคอะเช็ท ม้วนหรือตลับฟิลม์หรือแถบเสียงแม่เหล็ก
46. microprocesessor เมคโรพราเชอะ เครื่องประมวลผลกลางคอมพิวเตอร์ ตั้งโ
47 Hardware ฮาร์ดแวร์ เครื่องใช้พวกโลหะคอมพิวเตอร์
48. network เน็ทเวิรค เครือข่าย
49 follwing ฟาโลอิง ที่ติดตาม
50. normally นอรเมอะลิ โดยทั่วไป